นโยบายการทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุด

ความคืบหน้า
0%
?
X

เลือกว่า นายจ้างต้องการแจ้งให้พนักงาน/ลูกจ้างทราบข้อกำหนดเกี่ยวกับการทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุดในรูปแบบใด (ชื่อหัวของหนังสือ) ในกรณีที่ผู้ใช้งานเลือก "นโยบาย" หมายความว่า นายจ้างต้องการแจ้งให้พนักงาน/ลูกจ้างทราบข้อกำหนดเกี่ยวกับการทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุดในรูปแบบนโยบาย เช่น นโยบายการทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุด ในกรณีที่ผู้ใช้งานเลือก "ประกาศ (ระบุตำแหน่งผู้ประกาศ)" หมายความว่า นายจ้างต้องการแจ้งให้พนักงาน/ลูกจ้างทราบข้อกำหนดเกี่ยวกับการทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุดในรูปแบบประกาศ เช่น ประกาศกรรมการผู้จัดการเกี่ยวกับการทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุด ในกรณีที่ผู้ใช้งานเลือก "คำสั่ง (ระบุตำแหน่งผู้ออกคำสั่ง)" หมายความว่า นายจ้างต้องการแจ้งให้พนักงาน/ลูกจ้างทราบข้อกำหนดเกี่ยวกับการทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุดในรูปแบบคำสั่ง เช่น คำสั่งกรรมการผู้จัดการเกี่ยวกับการทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุด



คุณต้องการความช่วยเหลือส่วนบุคคลใช่หรือไม่
ในตอนท้าย คุณสามารถเลือกตัวเลือกปรึกษาทนายความได้

ช่วยเหลือ
แก้ไขแบบฟอร์ม

________
________

นโยบาย ________
เรื่อง การทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุด

เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ อัตราค่าตอบแทน ข้อกำหนด และเงื่อนไขเกี่ยวกับการทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุดภายในสถานประกอบกิจการที่ชัดเจน และเพื่อให้สอดคล้องตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน กิจการ โดย นายจ้าง จึง มีนโยบาย เรื่อง การทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุด โดยมีหลักเกณฑ์ วิธีการ อัตราค่าตอบแทน ข้อกำหนด และเงื่อนไขเกี่ยวกับการทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุด ดังต่อไปนี้

ข้อ 1 คำนิยาม

ภายในนโยบายฉบับนี้

(ก) "นายจ้าง" หมายความว่า ________ โดย ________ ถือบัตรประจำตัวประชาชนเลขที่ ________ สำนักงานตั้งอยู่ที่ ________

(ข) "สถานประกอบกิจการ" หมายความว่า หน่วยงานและ/หรือสถานที่ของนายจ้างที่มีลูกจ้างทำงานอยู่ในหน่วยงานและ/หรือสถานที่นั้นๆ

(ค) "การทำงานล่วงเวลา" หมายความว่า การทำงานนอกหรือเกินเวลาทำงานปกติหรือเกินชั่วโมงทำงานในแต่ละวันที่นายจ้างและพนักงานตกลงกันในวันทำงาน หรือในวันหยุด แล้วแต่กรณี

(ง) "การทำงานในวันหยุด" หมายความว่า การทำงานนอกวันทำงานปกติที่นายจ้างและพนักงานตกลงกันเป็นวันทำงาน อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การทำงานในวันหยุดประจำสัปดาห์ วันหยุดตามประเพณี วันหยุดพักผ่อนประจำปีของพนักงาน

ข้อ 2 การทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุด

เพื่อให้เกิดประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของพนักงานในสถานประกอบกิจการของนายจ้าง และความสมดุลระหว่างการทำงานและชีวิตส่วนตัวของพนักงาน (Work-life Balance) นายจ้าง รวมถึง ผู้บังคับบัญชาและ/หรือหัวหน้างานจะไม่ให้พนักงานภายใต้บังคับบัญชาของตนทำงานล่วงเวลาและทำงานในวันหยุด เว้นแต่ในกรณีจำเป็นที่กำหนด ดังต่อไปนี้

(ก) ลักษณะหรือสภาพของงานที่มีความจำเป็นต้องทำติดต่อกันไปหากหยุดจะเสียแก่งาน

(ข) ลักษณะหรือสภาพของงานที่เป็นงานฉุกเฉิน

ข้อ 3 สุขภาพและความปลอดภัย

ไม่ว่าในกรณีใดๆ ห้ามมิให้พนักงานทำงานล่วงเวลาและ/หรือทำงานในวันหยุด ในกรณีดังต่อไปนี้

(ก) พนักงานที่ทำงานที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัยของพนักงาน

(ข) พนักงานซึ่งเป็นหญิงมีครรภ์ เว้นแต่ ในกรณีที่พนักงานซึ่งเป็นหญิงมีครรภ์ทำงานในตำแหน่งผู้บริหาร งานวิชาการ งานธุรการ หรืองานเกี่ยวกับการเงินหรือบัญชี อาจให้พนักงานนั้นทำงานล่วงเวลาในวันทำงานได้เท่าที่ไม่มีผลกระทบต่อสุขภาพของพนักงานซึ่งเป็นหญิงมีครรภ์ โดยจะต้องได้รับความยินยอมจากพนักงานก่อนเป็นคราวๆ ไป

(ค) พนักงานซึ่งเป็นเด็กอายุต่ำกว่า 18 (สิบแปด) ปี

(ง) พนักงานซึ่งเมื่อรวมจำนวนชั่วโมงการทำงานการทำงานล่วงเวลาและ/หรือการทำงานในวันหยุดของพนักงานนั้นแล้วเกินอัตราสูงสุดที่กฎหมายกำหนด

ข้อ 4 ความเท่าเทียม

นายจ้างจะกำหนดอัตราค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุดให้แก่พนักงาน โดยคำนึงถึงหลักความเท่าเทียมเป็นสำคัญ

โดยที่ นายจ้างจะกำหนดอัตราค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุดให้แก่พนักงานที่ทำงานอันมีลักษณะ คุณภาพ และปริมาณเท่ากัน หรืองานที่มีค่าเท่าเทียมกันในอัตราเท่ากันไม่ว่าพนักงานนั้นจะเป็นชายหรือหญิงก็ตาม

ข้อ 5 5885222

588522258228222285885885222882255228288258288585282582525 2 58852 5885222 นายจ้างจะจัดให้พนักงานมีเวลาพักไม่น้อยกว่า 58 58852225 นาทีก่อนที่พนักงานเริ่มทำงานล่วงเวลานั้น 5885222 58852225822822228588588522288225522828825828858528258252588558288888888888888888888888888888 588522258228222285885885222882255

ข้อ 6 ค่าล่วงเวลาในวันทำงาน

ในกรณีที่พนักงานทำงานล่วงเวลาในวันทำงาน นายจ้างจะจ่ายค่าล่วงเวลาเพื่อเป็นการตอบแทนการทำงานล่วงเวลาในวันทำงานให้แก่พนักงานในอัตราไม่น้อยกว่า ________ (________) เท่าของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทำงานตามจำนวนชั่วโมงที่ทำ หรือไม่น้อยกว่า ________ (________) เท่าของอัตราค่าจ้างต่อหน่วยในวันทำงานตามจำนวนผลงานที่ทำได้ในกรณีที่พนักงานได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย

ข้อ 7 ค่าทำงานในวันหยุด

ในกรณีที่พนักงานทำงานในวันหยุด นายจ้างจะจ่ายค่าทำงานในวันหยุดเพื่อเป็นการตอบแทนการทำงานในวันหยุดให้แก่พนักงานในอัตรา ดังต่อไปนี้

(ก) ในกรณีที่พนักงานมีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุด นายจ้างจะจ่ายเพิ่มขึ้นจากค่าจ้างอีกไม่น้อยกว่า ________ (________) เท่าของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทำงานตามจำนวนชั่วโมงที่ทำหรือไม่น้อยกว่า ________ (________) เท่าของอัตราค่าจ้างต่อหน่วยในวันทำงานตามจำนวนผลงานที่ทำได้ในกรณีที่พนักงานได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย

(ข) ในกรณีที่พนักงานไม่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุด นายจ้างจะจ่ายไม่น้อยกว่า ________ (________) เท่าของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทำงานตามจำนวนชั่วโมงที่ทำ หรือไม่น้อยกว่า ________ (________) เท่าของอัตราค่าจ้างต่อหน่วยในวันทำงานตามจำนวนผลงานที่ทำได้ในกรณีที่พนักงานได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย

ข้อ 8 ค่าล่วงเวลาในวันหยุด

ในกรณีที่พนักงานทำงานล่วงเวลาในวันหยุด นายจ้างจะจ่ายค่าล่วงเวลาในวันหยุดเพื่อเป็นการตอบแทนการทำงานล่วงเวลาในวันหยุดให้แก่พนักงานในอัตราไม่น้อยกว่า ________ (________) เท่าของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทำงานตามจำนวนชั่วโมงที่ทำ หรือไม่น้อยกว่า ________ (________) เท่าของอัตราค่าจ้างต่อหน่วยในวันทำงานตามจำนวนผลงานที่ทำได้ในกรณีที่พนักงานได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย

ข้อ 9 สิทธิได้รับค่าล่วงเวลาและค่าล่วงเวลาในวันหยุด

นอกเหนือไปจากพนักงานทั่วไปของสถานประกอบกิจการที่มีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลาและค่าล่วงเวลาในวันหยุดอยู่แล้ว ให้พนักงานที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ ไม่มีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลา และค่าล่วงเวลาในวันหยุดตามนโยบายฉบับนี้

(ก) พนักงานซึ่งมีอำนาจหน้าที่ทำการแทนนายจ้างสำหรับกรณีการจ้าง การให้บำเหน็จ หรือการเลิกจ้าง
(ข) พนักงานที่ทำงานเร่ขายหรือชักชวนซื้อสินค้าซึ่งนายจ้างได้จ่ายค่านายหน้าจากการขายสินค้าให้แก่พนักงานนั้น
(ค) พนักงานที่ทำงานขบวนการจัดงานรถไฟ ซึ่งได้แก่งานที่ทำบนขบวนรถและงานอำนวยความสะดวกแก่การเดินรถ
(ง) พนักงานที่ทำงานเปิดปิดประตูน้ำหรือประตูระบายน้ำ
(จ) พนักงานที่ทำงานอ่านระดับน้ำและวัดปริมาณน้ำ
(ฉ) พนักงานที่ทำงานดับเพลิงหรืองานป้องกันอันตรายสาธารณะ
(ช) พนักงานที่ทำงานที่มีลักษณะหรือสภาพต้องออกไปทำงานนอกสถานที่ และโดยลักษณะหรือสภาพของงานไม่อาจกำหนดเวลาทำงานที่แน่นอนได้
(ซ) พนักงานที่ทำงานอยู่เวรเฝ้าดูแลสถานที่หรือทรัพย์สินอันมิใช่หน้าที่การทำงานปกติของพนักงาน
(ฌ) พนักงานที่ทำงานอื่นตามที่กฎหมายกำหนดให้ไม่มีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลา และค่าล่วงเวลาในวันหยุด

ในกรณีเช่นนี้ ให้พนักงานที่มีลักษณะดังกล่าวยังคงมีสิทธิได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเท่ากับอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทำงานตามจำนวนชั่วโมงที่ทำนั้น

ข้อ 10 สิทธิได้รับค่าทำงานในวันหยุด

นอกเหนือไปจากพนักงานทั่วไปของสถานประกอบกิจการที่มีสิทธิได้รับค่าทำงานในวันหยุดอยู่แล้ว ให้ พนักงานซึ่งมีอำนาจหน้าที่ทำการแทนนายจ้างสำหรับกรณีการจ้าง การให้บำเหน็จ หรือการเลิกจ้าง ไม่มีสิทธิได้รับค่าทำงานในวันหยุด

ข้อ 11 การคำนวณค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุด

เพื่อประโยชน์แก่การคำนวณค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุด นายจ้างจะจ่ายค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุดโดยใช้หลักเกณฑ์ และวิธีการคำนวณค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุด ดังต่อไปนี้

(ก) ในกรณีที่พนักงานได้รับค่าจ้างเป็นรายเดือน อัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทำงาน หมายถึง ค่าจ้างรายเดือนหารด้วย ผลคูณของ 30 (สามสิบ) และจำนวนชั่วโมงทำงานในวันทำงานต่อวันโดยเฉลี่ย

(ข) ในกรณีที่นายจ้างกำหนดเวลาทำงานปกติเป็นสัปดาห์ ให้นับวันหยุดตามประเพณี วันหยุดพักผ่อนประจำปี และวันลา เป็นวันทำงานด้วย

(ค) ในกรณีที่พนักงานได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย ให้คำนวณ ค่าจ้างในวันหยุด จากค่าจ้างโดยเฉลี่ยในวันทำงานที่พนักงานได้รับในงวดการจ่ายค่าจ้างก่อนวันที่หยุดนั้น

ข้อ 12 การจ่ายค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด หรือค่าล่วงเวลาในวันหยุด

นายจ้างจะจ่ายค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด หรือค่าล่วงเวลาในวันหยุดเดือนหนึ่งไม่น้อยกว่า 1 (หนึ่ง) ครั้ง โดยมีกำหนดระยะเวลาการจ่าย ดังต่อไปนี้

________

นายจ้างจะจ่ายค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด หรือค่าล่วงเวลาในวันหยุดเป็นเงินตราไทย เท่านั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจากพนักงานให้จ่ายเป็นตั๋วเงินหรือเงินตราต่างประเทศ

นายจ้างจะจ่ายค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด หรือค่าล่วงเวลาในวันหยุด ณ สถานที่ทำงานของพนักงาน เว้นแต่ได้รับความยินยอมจากพนักงานให้จ่าย ณ สถานที่อื่น หรือด้วยวิธีการอื่น

ความยินยอมจากพนักงานในวรรคก่อน ให้จัดทำเป็นหนังสือและลงลายมือชื่อในการให้ความยินยอมหรือ มีข้อตกลงกันไว้ให้ชัดเจนเป็นการเฉพาะ อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง ข้อตกลงในสัญญาจ้างแรงงาน และ/หรือข้อบังคับการทำงาน

ข้อ 13 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการ

ในกรณีที่นายจ้าง ผู้บังคับบัญชา และ/หรือหัวหน้างานที่มีความประสงค์จะให้พนักงานภายใต้บังคับบัญชาของตนทำงานล่วงเวลาและ/หรือทำงานในวันหยุดตามนโยบายฉบับนี้ ให้ดำเนินการตามวิธีการ และขั้นตอน ดังต่อไปนี้

________

อนึ่ง ให้นโยบายฉบับนี้ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ________ ไปจนกว่าจะมีนโยบายเป็นอย่างอื่น

จึงเรียนมาเพื่อทราบ

ประกาศ ณ วันที่ ________



ลงชื่อ_______________________ผู้ออกนโยบาย
________
________

ติดต่อ
________

ดูเอกสารของคุณ
ที่อยู่ระหว่างการสร้าง

________
________

นโยบาย ________
เรื่อง การทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุด

เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ อัตราค่าตอบแทน ข้อกำหนด และเงื่อนไขเกี่ยวกับการทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุดภายในสถานประกอบกิจการที่ชัดเจน และเพื่อให้สอดคล้องตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน กิจการ โดย นายจ้าง จึง มีนโยบาย เรื่อง การทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุด โดยมีหลักเกณฑ์ วิธีการ อัตราค่าตอบแทน ข้อกำหนด และเงื่อนไขเกี่ยวกับการทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุด ดังต่อไปนี้

ข้อ 1 คำนิยาม

ภายในนโยบายฉบับนี้

(ก) "นายจ้าง" หมายความว่า ________ โดย ________ ถือบัตรประจำตัวประชาชนเลขที่ ________ สำนักงานตั้งอยู่ที่ ________

(ข) "สถานประกอบกิจการ" หมายความว่า หน่วยงานและ/หรือสถานที่ของนายจ้างที่มีลูกจ้างทำงานอยู่ในหน่วยงานและ/หรือสถานที่นั้นๆ

(ค) "การทำงานล่วงเวลา" หมายความว่า การทำงานนอกหรือเกินเวลาทำงานปกติหรือเกินชั่วโมงทำงานในแต่ละวันที่นายจ้างและพนักงานตกลงกันในวันทำงาน หรือในวันหยุด แล้วแต่กรณี

(ง) "การทำงานในวันหยุด" หมายความว่า การทำงานนอกวันทำงานปกติที่นายจ้างและพนักงานตกลงกันเป็นวันทำงาน อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การทำงานในวันหยุดประจำสัปดาห์ วันหยุดตามประเพณี วันหยุดพักผ่อนประจำปีของพนักงาน

ข้อ 2 การทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุด

เพื่อให้เกิดประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของพนักงานในสถานประกอบกิจการของนายจ้าง และความสมดุลระหว่างการทำงานและชีวิตส่วนตัวของพนักงาน (Work-life Balance) นายจ้าง รวมถึง ผู้บังคับบัญชาและ/หรือหัวหน้างานจะไม่ให้พนักงานภายใต้บังคับบัญชาของตนทำงานล่วงเวลาและทำงานในวันหยุด เว้นแต่ในกรณีจำเป็นที่กำหนด ดังต่อไปนี้

(ก) ลักษณะหรือสภาพของงานที่มีความจำเป็นต้องทำติดต่อกันไปหากหยุดจะเสียแก่งาน

(ข) ลักษณะหรือสภาพของงานที่เป็นงานฉุกเฉิน

ข้อ 3 สุขภาพและความปลอดภัย

ไม่ว่าในกรณีใดๆ ห้ามมิให้พนักงานทำงานล่วงเวลาและ/หรือทำงานในวันหยุด ในกรณีดังต่อไปนี้

(ก) พนักงานที่ทำงานที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัยของพนักงาน

(ข) พนักงานซึ่งเป็นหญิงมีครรภ์ เว้นแต่ ในกรณีที่พนักงานซึ่งเป็นหญิงมีครรภ์ทำงานในตำแหน่งผู้บริหาร งานวิชาการ งานธุรการ หรืองานเกี่ยวกับการเงินหรือบัญชี อาจให้พนักงานนั้นทำงานล่วงเวลาในวันทำงานได้เท่าที่ไม่มีผลกระทบต่อสุขภาพของพนักงานซึ่งเป็นหญิงมีครรภ์ โดยจะต้องได้รับความยินยอมจากพนักงานก่อนเป็นคราวๆ ไป

(ค) พนักงานซึ่งเป็นเด็กอายุต่ำกว่า 18 (สิบแปด) ปี

(ง) พนักงานซึ่งเมื่อรวมจำนวนชั่วโมงการทำงานการทำงานล่วงเวลาและ/หรือการทำงานในวันหยุดของพนักงานนั้นแล้วเกินอัตราสูงสุดที่กฎหมายกำหนด

ข้อ 4 ความเท่าเทียม

นายจ้างจะกำหนดอัตราค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุดให้แก่พนักงาน โดยคำนึงถึงหลักความเท่าเทียมเป็นสำคัญ

โดยที่ นายจ้างจะกำหนดอัตราค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุดให้แก่พนักงานที่ทำงานอันมีลักษณะ คุณภาพ และปริมาณเท่ากัน หรืองานที่มีค่าเท่าเทียมกันในอัตราเท่ากันไม่ว่าพนักงานนั้นจะเป็นชายหรือหญิงก็ตาม

ข้อ 5 5885222

588522258228222285885885222882255228288258288585282582525 2 58852 5885222 นายจ้างจะจัดให้พนักงานมีเวลาพักไม่น้อยกว่า 58 58852225 นาทีก่อนที่พนักงานเริ่มทำงานล่วงเวลานั้น 5885222 58852225822822228588588522288225522828825828858528258252588558288888888888888888888888888888 588522258228222285885885222882255

ข้อ 6 ค่าล่วงเวลาในวันทำงาน

ในกรณีที่พนักงานทำงานล่วงเวลาในวันทำงาน นายจ้างจะจ่ายค่าล่วงเวลาเพื่อเป็นการตอบแทนการทำงานล่วงเวลาในวันทำงานให้แก่พนักงานในอัตราไม่น้อยกว่า ________ (________) เท่าของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทำงานตามจำนวนชั่วโมงที่ทำ หรือไม่น้อยกว่า ________ (________) เท่าของอัตราค่าจ้างต่อหน่วยในวันทำงานตามจำนวนผลงานที่ทำได้ในกรณีที่พนักงานได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย

ข้อ 7 ค่าทำงานในวันหยุด

ในกรณีที่พนักงานทำงานในวันหยุด นายจ้างจะจ่ายค่าทำงานในวันหยุดเพื่อเป็นการตอบแทนการทำงานในวันหยุดให้แก่พนักงานในอัตรา ดังต่อไปนี้

(ก) ในกรณีที่พนักงานมีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุด นายจ้างจะจ่ายเพิ่มขึ้นจากค่าจ้างอีกไม่น้อยกว่า ________ (________) เท่าของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทำงานตามจำนวนชั่วโมงที่ทำหรือไม่น้อยกว่า ________ (________) เท่าของอัตราค่าจ้างต่อหน่วยในวันทำงานตามจำนวนผลงานที่ทำได้ในกรณีที่พนักงานได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย

(ข) ในกรณีที่พนักงานไม่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุด นายจ้างจะจ่ายไม่น้อยกว่า ________ (________) เท่าของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทำงานตามจำนวนชั่วโมงที่ทำ หรือไม่น้อยกว่า ________ (________) เท่าของอัตราค่าจ้างต่อหน่วยในวันทำงานตามจำนวนผลงานที่ทำได้ในกรณีที่พนักงานได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย

ข้อ 8 ค่าล่วงเวลาในวันหยุด

ในกรณีที่พนักงานทำงานล่วงเวลาในวันหยุด นายจ้างจะจ่ายค่าล่วงเวลาในวันหยุดเพื่อเป็นการตอบแทนการทำงานล่วงเวลาในวันหยุดให้แก่พนักงานในอัตราไม่น้อยกว่า ________ (________) เท่าของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทำงานตามจำนวนชั่วโมงที่ทำ หรือไม่น้อยกว่า ________ (________) เท่าของอัตราค่าจ้างต่อหน่วยในวันทำงานตามจำนวนผลงานที่ทำได้ในกรณีที่พนักงานได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย

ข้อ 9 สิทธิได้รับค่าล่วงเวลาและค่าล่วงเวลาในวันหยุด

นอกเหนือไปจากพนักงานทั่วไปของสถานประกอบกิจการที่มีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลาและค่าล่วงเวลาในวันหยุดอยู่แล้ว ให้พนักงานที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ ไม่มีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลา และค่าล่วงเวลาในวันหยุดตามนโยบายฉบับนี้

(ก) พนักงานซึ่งมีอำนาจหน้าที่ทำการแทนนายจ้างสำหรับกรณีการจ้าง การให้บำเหน็จ หรือการเลิกจ้าง
(ข) พนักงานที่ทำงานเร่ขายหรือชักชวนซื้อสินค้าซึ่งนายจ้างได้จ่ายค่านายหน้าจากการขายสินค้าให้แก่พนักงานนั้น
(ค) พนักงานที่ทำงานขบวนการจัดงานรถไฟ ซึ่งได้แก่งานที่ทำบนขบวนรถและงานอำนวยความสะดวกแก่การเดินรถ
(ง) พนักงานที่ทำงานเปิดปิดประตูน้ำหรือประตูระบายน้ำ
(จ) พนักงานที่ทำงานอ่านระดับน้ำและวัดปริมาณน้ำ
(ฉ) พนักงานที่ทำงานดับเพลิงหรืองานป้องกันอันตรายสาธารณะ
(ช) พนักงานที่ทำงานที่มีลักษณะหรือสภาพต้องออกไปทำงานนอกสถานที่ และโดยลักษณะหรือสภาพของงานไม่อาจกำหนดเวลาทำงานที่แน่นอนได้
(ซ) พนักงานที่ทำงานอยู่เวรเฝ้าดูแลสถานที่หรือทรัพย์สินอันมิใช่หน้าที่การทำงานปกติของพนักงาน
(ฌ) พนักงานที่ทำงานอื่นตามที่กฎหมายกำหนดให้ไม่มีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลา และค่าล่วงเวลาในวันหยุด

ในกรณีเช่นนี้ ให้พนักงานที่มีลักษณะดังกล่าวยังคงมีสิทธิได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเท่ากับอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทำงานตามจำนวนชั่วโมงที่ทำนั้น

ข้อ 10 สิทธิได้รับค่าทำงานในวันหยุด

นอกเหนือไปจากพนักงานทั่วไปของสถานประกอบกิจการที่มีสิทธิได้รับค่าทำงานในวันหยุดอยู่แล้ว ให้ พนักงานซึ่งมีอำนาจหน้าที่ทำการแทนนายจ้างสำหรับกรณีการจ้าง การให้บำเหน็จ หรือการเลิกจ้าง ไม่มีสิทธิได้รับค่าทำงานในวันหยุด

ข้อ 11 การคำนวณค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุด

เพื่อประโยชน์แก่การคำนวณค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุด นายจ้างจะจ่ายค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุดโดยใช้หลักเกณฑ์ และวิธีการคำนวณค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุด ดังต่อไปนี้

(ก) ในกรณีที่พนักงานได้รับค่าจ้างเป็นรายเดือน อัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทำงาน หมายถึง ค่าจ้างรายเดือนหารด้วย ผลคูณของ 30 (สามสิบ) และจำนวนชั่วโมงทำงานในวันทำงานต่อวันโดยเฉลี่ย

(ข) ในกรณีที่นายจ้างกำหนดเวลาทำงานปกติเป็นสัปดาห์ ให้นับวันหยุดตามประเพณี วันหยุดพักผ่อนประจำปี และวันลา เป็นวันทำงานด้วย

(ค) ในกรณีที่พนักงานได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย ให้คำนวณ ค่าจ้างในวันหยุด จากค่าจ้างโดยเฉลี่ยในวันทำงานที่พนักงานได้รับในงวดการจ่ายค่าจ้างก่อนวันที่หยุดนั้น

ข้อ 12 การจ่ายค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด หรือค่าล่วงเวลาในวันหยุด

นายจ้างจะจ่ายค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด หรือค่าล่วงเวลาในวันหยุดเดือนหนึ่งไม่น้อยกว่า 1 (หนึ่ง) ครั้ง โดยมีกำหนดระยะเวลาการจ่าย ดังต่อไปนี้

________

นายจ้างจะจ่ายค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด หรือค่าล่วงเวลาในวันหยุดเป็นเงินตราไทย เท่านั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจากพนักงานให้จ่ายเป็นตั๋วเงินหรือเงินตราต่างประเทศ

นายจ้างจะจ่ายค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด หรือค่าล่วงเวลาในวันหยุด ณ สถานที่ทำงานของพนักงาน เว้นแต่ได้รับความยินยอมจากพนักงานให้จ่าย ณ สถานที่อื่น หรือด้วยวิธีการอื่น

ความยินยอมจากพนักงานในวรรคก่อน ให้จัดทำเป็นหนังสือและลงลายมือชื่อในการให้ความยินยอมหรือ มีข้อตกลงกันไว้ให้ชัดเจนเป็นการเฉพาะ อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง ข้อตกลงในสัญญาจ้างแรงงาน และ/หรือข้อบังคับการทำงาน

ข้อ 13 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการ

ในกรณีที่นายจ้าง ผู้บังคับบัญชา และ/หรือหัวหน้างานที่มีความประสงค์จะให้พนักงานภายใต้บังคับบัญชาของตนทำงานล่วงเวลาและ/หรือทำงานในวันหยุดตามนโยบายฉบับนี้ ให้ดำเนินการตามวิธีการ และขั้นตอน ดังต่อไปนี้

________

อนึ่ง ให้นโยบายฉบับนี้ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ________ ไปจนกว่าจะมีนโยบายเป็นอย่างอื่น

จึงเรียนมาเพื่อทราบ

ประกาศ ณ วันที่ ________



ลงชื่อ_______________________ผู้ออกนโยบาย
________
________

ติดต่อ
________