นโยบายความเท่าเทียมในที่ทำงาน

ความคืบหน้า
0%
?
X

เลือกว่า นายจ้างต้องการแจ้งให้พนักงาน/ลูกจ้างทราบข้อกำหนดเกี่ยวกับความเท่าเทียมในที่ทำงานในรูปแบบใด (ชื่อหัวของหนังสือ) ในกรณีที่ผู้ใช้งานเลือก "นโยบาย" หมายความว่า นายจ้างต้องการแจ้งให้พนักงาน/ลูกจ้างทราบข้อกำหนดเกี่ยวกับความเท่าเทียมในที่ทำงานในรูปแบบนโยบาย เช่น นโยบายความเท่าเทียมในที่ทำงาน ในกรณีที่ผู้ใช้งานเลือก "ประกาศ (ระบุตำแหน่งผู้ประกาศ)" หมายความว่า นายจ้างต้องการแจ้งให้พนักงาน/ลูกจ้างทราบข้อกำหนดเกี่ยวกับความเท่าเทียมในที่ทำงานในรูปแบบประกาศ เช่น ประกาศกรรมการผู้จัดการเกี่ยวกับความเท่าเทียมในที่ทำงาน ในกรณีที่ผู้ใช้งานเลือก "คำสั่ง (ระบุตำแหน่งผู้ออกคำสั่ง)" หมายความว่า นายจ้างต้องการแจ้งให้พนักงาน/ลูกจ้างทราบข้อกำหนดเกี่ยวกับความเท่าเทียมในที่ทำงานในรูปแบบคำสั่ง เช่น คำสั่งกรรมการผู้จัดการเกี่ยวกับความเท่าเทียมในที่ทำงาน



คุณต้องการความช่วยเหลือส่วนบุคคลใช่หรือไม่
ในตอนท้าย คุณสามารถเลือกตัวเลือกปรึกษาทนายความได้

ช่วยเหลือ
แก้ไขแบบฟอร์ม

________
________

นโยบาย ________
เรื่อง ความเท่าเทียมในที่ทำงาน

เพื่อกำหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับความเท่าเทียมในที่ทำงานอันเป็นการเคารพสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานของบุคคล และเคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของบุคคล กิจการ โดย นายจ้าง จึง มีนโยบาย เรื่อง ความเท่าเทียมในที่ทำงาน โดยมีรายละเอียดและสาระสำคัญ ดังต่อไปนี้

ข้อ 1 คำนิยาม

ภายในนโยบายฉบับนี้

(ก) "นายจ้าง" หมายความว่า ________ โดย ________ ถือบัตรประจำตัวประชาชนเลขที่ ________ สำนักงานตั้งอยู่ที่ ________

(ข) "สถานประกอบกิจการ" หมายความว่า หน่วยงานและ/หรือสถานที่ของนายจ้างที่มีพนักงานทำงานอยู่ในหน่วยงานและ/หรือสถานที่นั้นๆ

ข้อ 2 หลักความเท่าเทียม

เพื่อให้เกิดประสิทธิผลเป็นไปตามนโยบายฉบับนี้ นายจ้าง รวมถึง ผู้บังคับบัญชาและ/หรือหัวหน้างานจะปฏิบัติต่อพนักงานภายใต้บังคับบัญชาของตนโดยคำนึงถึงหลักความเท่าเทียม ดังต่อไปนี้ เป็นสำคัญ

(ก) พนักงานทุกคนย่อมเสมอกันในกฎหมายและในข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของนายจ้าง

(ข) พนักงานทุกคนย่อมมีสิทธิและเสรีภาพและได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายและตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของนายจ้างอย่างเท่าเทียมกัน

(ค) พนักงาน ไม่ว่าชายหรือหญิง ย่อมมีสิทธิเท่าเทียมกัน

(ง) นายจ้าง รวมถึง ผู้บังคับบัญชาและ/หรือหัวหน้างานจะปฏิบัติต่อพนักงานชายและหญิงโดยเท่าเทียมกันในการจ้างงาน เว้นแต่ ลักษณะหรือสภาพของงานไม่อาจปฏิบัติเช่นนั้นได้

(จ) นายจ้างจะกำหนดอัตราค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด ค่าล่วงเวลาในวันหยุด และสิทธิประโยชน์อื่นใดให้แก่พนักงาน โดยคำนึงถึงหลักความเท่าเทียมเป็นสำคัญ โดยที่ นายจ้างจะกำหนดอัตราค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด ค่าล่วงเวลาในวันหยุด และสิทธิประโยชน์อื่นใดให้แก่พนักงานที่ทำงานอันมีลักษณะ คุณภาพ และปริมาณเท่ากัน หรืองานที่มีค่าเท่าเทียมกันในอัตราเท่ากันไม่ว่าพนักงานนั้นจะเป็นชายหรือหญิงก็ตาม

ข้อ 3 เสรีภาพในการรวมกลุ่ม

พนักงานทุกคนย่อมมีเสรีภาพในการรวมกันเป็นสหภาพแรงงานตามกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ ทั้งนี้ตราบเท่าที่ไม่ขัดต่อกฎหมายดังกล่าว

เพื่อให้เกิดประสิทธิผลเป็นไปตามนโยบายฉบับนี้ นายจ้างจะปฏิบัติตามหน้าที่ของนายจ้างตามกฎหมายดังกล่าวเกี่ยวกับการรวมกันเป็นสหภาพแรงงานอย่างสิ้นเชิง อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การเข้าร่วมเจรจาข้อเรียกร้อง การร่วมประชุมหารือเกี่ยวกับสวัสดิการพนักงาน คำร้องทุกข์ของพนักงาน การระงับข้อขัดแย้งในสถานประกอบกิจการ

ข้อ 4 การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม

เพื่อให้เกิดประสิทธิผลเป็นไปตามนโยบายฉบับนี้ นายจ้าง ผู้บังคับบัญชาและ/หรือหัวหน้างาน รวมถึง พนักงานทุกคนจะไม่กระทำการและ/หรืองดเว้นการกระทำการใดๆ อันเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อพนักงานคนใดคนหนึ่ง ไม่ว่าด้วยเหตุเพราะความแตกต่างในเรื่อง ดังต่อไปนี้

(ก) ลักษณะการจ้างงาน
(ข) ถิ่นกำเนิด
(ค) เชื้อชาติ
(ง) เผ่าพันธุ์
(จ) สัญชาติ
(ฉ) ภาษา
(ช) สีผิว
(ซ) เพศ
(ฌ) เพศวิถี
(ญ) อัตลักษณ์ทางเพศ
(ฎ) อายุ
(ฏ) สถานภาพสมรส
(ฐ) ความพิการ
(ฑ) สภาพทางกายหรือสุขภาพ
(ฒ) สภาวะทางพันธุกรรม
(ณ) สถานะของบุคคล
(ด) ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม
(ต) ความเชื่อทางศาสนา ลัทธิ ปรัชญา
(ถ) การศึกษาอบรม
(ท) ความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ หรือ
(ธ) เหตุอื่นใด

อนึ่ง การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมในวรรคก่อน ให้หมายความรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การกระทำการและ/หรืองดเว้นการกระทำการใดๆ อันเป็นการเลือกปฏิบัติต่อพนักงานคนใดคนหนึ่งด้วยเหตุเพียงเพราะความแตกต่างในเรื่องพื้นฐานส่วนตัวของบุคคลนั้นๆ ซึ่งไม่เกี่ยวกับสาระสำคัญในการทำงาน เช่น พนักงานเพศหญิงที่มีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญเท่าๆ กันได้รับค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ที่ต่ำกว่าพนักงานเพศชายในตำแหน่งและหน้าที่ความรับผิดชอบเดียวกัน พนักงานไม่ได้รับการพิจารณาปรับตำแหน่งเพียงเพราะอัตลักษณ์ทางเพศ/ความคิดเห็นทางการเมือง การปฏิเสธการรับเข้าทำงานหรือเลิกจ้างพนักงานเพียงเพราะชาติกำเนิด

ทั้งนี้ ให้กรณีที่กำหนดดังต่อไปนี้ ย่อมไม่ถือว่าเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม

(ก) ข้อตกลงในสัญญาจ้างระหว่างนายจ้างกับพนักงานที่แตกต่างกันเนื่องจากความรู้ ความสามารถ ความชำนาญการ ความเชี่ยวชาญเฉพาะบุคคลของพนักงานแต่ละราย

(ข) ข้อตกลงในสัญญาจ้างระหว่างนายจ้างกับพนักงาน ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน ระเบียบ หรือคำสั่งของนายจ้างที่บังคับใช้กับพนักงานกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเป็นการเฉพาะที่เป็นธรรมและพอสมควรแก่กรณี

(ค) มาตรการที่นายจ้างกำหนดขึ้นซึ่งบังคับใช้กับพนักงานกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเพื่อขจัดอุปสรรคหรือส่งเสริมให้พนักงานสามารถใช้สิทธิหรือเสรีภาพได้เช่นเดียวกับบุคคลอื่น

(ง) มาตรการที่นายจ้างกำหนดขึ้นซึ่งบังคับใช้กับพนักงานกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเพื่อคุ้มครองหรืออำนวยความสะดวกให้แก่เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ หรือผู้ด้อยโอกาส

ข้อ 5 การล่วงละเมิดและ/หรือคุกคามทางเพศ

เพื่อให้เกิดประสิทธิผลเป็นไปตามนโยบายฉบับนี้ นายจ้าง ผู้บังคับบัญชาและ/หรือหัวหน้างาน รวมถึง พนักงานทุกคน จะไม่กระทำการและ/หรืองดเว้นการกระทำการใดๆ อันเป็นการกระทำการล่วงเกิน คุกคาม หรือก่อความเดือดร้อนรำคาญทางเพศต่อพนักงานคนใดคนหนึ่ง

อนึ่ง การล่วงละเมิดและ/หรือคุกคามทางเพศในวรรคก่อน ให้หมายความรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การจ้องมองร่างกายที่ส่อไปในทางเพศ การวิพากษ์วิจารณ์รูปร่าง ทรวดทรง และการแต่งกายที่ส่อไปทางเพศซึ่งผู้ถูกกระทำไม่พึงประสงค์ การพูดเรื่องตลกเกี่ยวกับเพศ การพูดจาแทะโลม การโทรศัพท์ลามก การจับกลุ่มวิจารณ์พฤติกรรมทางเพศของบุคคลในที่ทำงาน การสัมผัสร่างกายของผู้อื่นอย่างมีนัยทางเพศ การแสดงพฤติกรรมที่สื่อไปในทางเพศโดยใช้มือหรือการเคลื่อนไหวร่างกาย การกระทำทางเพศเพื่อแลกเปลี่ยนผลประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งในการทำงานและ/หรือการจ้างงาน การข่มขู่บังคับทางเพศ การกระทำและ/หรือพฤติกรรมใดๆ อันเป็นการบังคับ ก่อความเดือดร้อนรำคาญ อึดอัด อับอาย หรือทำให้รู้สึกถูกเหยียดหยามในทางเพศ

ข้อ 6 การแจ้งข้อร้องเรียน

ในกรณีที่พนักงานต้องการแจ้งข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการกระทำการและ/หรืองดเว้นการกระทำการใดๆ อันเป็นการขัดต่อนโยบายฉบับนี้ อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม การล่วงละเมิดและ/หรือคุกคามทางเพศ ให้พนักงานแจ้งข้อร้องเรียนดังกล่าวนั้นผ่านช่องทาง ดังต่อไปนี้

________

อนึ่ง การแจ้งข้อร้องเรียนในวรรคก่อนอาจดำเนินการโดยพนักงานที่ไม่ประสงค์ออกนามก็ได้ ในกรณีเช่นนี้ ผู้แจ้งจะต้องนำส่งหลักฐานอันควรเชื่อได้ว่ามีการกระทำการและ/หรืองดเว้นการกระทำที่ร้องเรียนดังกล่าวประกอบการแจ้งข้อร้องเรียนนั้นด้วย

ข้อ 7 มาตรการส่งเสริมและสนับสนุน

เพื่อให้เกิดประสิทธิผลเป็นไปตามนโยบายฉบับนี้ นายจ้างจะจัดให้มีมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนความเท่าเทียมภายในสถานประกอบกิจการ ดังต่อไปนี้

________

ข้อ 8 5885222582282222858858

58852225822822228588588522288225522828825828 588522258228222285885885222882255228288258288585282582525885582888888888888888888888888 58852225822

(ก) 58852225822822

5885222582282222858858852228822552282882582885852825825258 58852225822822228588588522288 5885222582282222858858852 58852225822822228588588522288 588522258228222285885885222882255 5885222582282222858858852228822 58852225822

(1) 58852225822822228588588522288225522828825828858528258252588558288888888 588522258228222285885885222882255228288258 58852225822822228588588522288225522828825828

(2) การสนับสนุนให้พนักงานทุกคนปฏิบัติตามนโยบายฉบับนี้

(3) การกำหนดโทษและผลกระทบที่ชัดเจนต่อพนักงาน ในกรณีที่พนักงานปฏิบัติฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้

(ข) มาตรการแก้ไข

เมื่อนายจ้างพบการกระทำการและ/หรืองดเว้นการกระทำการใดๆ อันเป็นการขัดต่อนโยบายฉบับนี้ หรือเมื่อนายจ้างได้รับแจ้งข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการกระทำการและ/หรืองดเว้นการกระทำการใดๆ อันเป็นการขัดต่อนโยบายฉบับนี้ อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม การล่วงละเมิดและ/หรือคุกคามทางเพศ นายจ้างจะดำเนินการมาตรการแก้ไข ดังต่อไปนี้

(1) การจัดให้มีกระกวนการตรวจสอบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการกระทำฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้ อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การจัดให้มีคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม การจัดให้มีคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีการล่วงละเมิดและ/หรือคุกคามทางเพศ

(2) การสั่งให้พนักงานยุติการกระทำอันเป็นการปฏิบัติฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้ อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม การล่วงละเมิดและ/หรือคุกคามทางเพศ

(3) การสั่งให้พนักงานแสดงความรับผิดชอบและแสดงความเสียใจต่อการกระทำของตนซึ่งฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้

(4) การลงโทษพนักงานซึ่งฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้ตามสมควรแก่กรณีแห่งความร้ายแรงและ/หรือความเสียหาย อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การตักเตือนเป็นหนังสือ การลงโทษทางวินัย การเลิกจ้าง

(5) การเรียกร้องค่าเสียหายทั้งปวงจากพนักงานซึ่งฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้ ในกรณีที่การปฏิบัติฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้ได้ก่อให้เกิดความเสียหายแก่นายจ้าง

(6) การเรียกร้องค่าชดเชยใดๆ จากพนักงานซึ่งฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้ ในกรณีที่มีบุคคลภายนอก กล่าวอ้างสิทธิ เรียกร้องค่าเสียหาย ค่าชดเชยใดๆ กับนายจ้าง อันเกิดจากและเกี่ยวกับการปฏิบัติฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้ ซึ่งนายจ้างได้ชำระค่าเสียหายหรือค่าชดเชยให้แก่บุคคลนั้นไปตามคำพิพากษาของศาลหรือได้ชำระตามคำสั่งอื่นใด โดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว (ถ้ามี)

(7) การดำเนินการทางกฎหมายกับพนักงานซึ่งกระทำการและ/หรืองดเว้นการกระทำการอันฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้ ในกรณีที่การกระทำการและ/หรืองดเว้นการกระทำการนั้นถือเป็นความผิดตามกฎหมาย อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ ประมวลกฎหมายอาญา

อนึ่ง ให้ นโยบายฉบับนี้ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ________ ไปจนกว่าจะมีนโยบายเป็นอย่างอื่น

จึงเรียนมาเพื่อทราบ

ประกาศ ณ วันที่ ________



ลงชื่อ_______________________ผู้ออกนโยบาย
________
________

ดูเอกสารของคุณ
ที่อยู่ระหว่างการสร้าง

________
________

นโยบาย ________
เรื่อง ความเท่าเทียมในที่ทำงาน

เพื่อกำหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับความเท่าเทียมในที่ทำงานอันเป็นการเคารพสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานของบุคคล และเคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของบุคคล กิจการ โดย นายจ้าง จึง มีนโยบาย เรื่อง ความเท่าเทียมในที่ทำงาน โดยมีรายละเอียดและสาระสำคัญ ดังต่อไปนี้

ข้อ 1 คำนิยาม

ภายในนโยบายฉบับนี้

(ก) "นายจ้าง" หมายความว่า ________ โดย ________ ถือบัตรประจำตัวประชาชนเลขที่ ________ สำนักงานตั้งอยู่ที่ ________

(ข) "สถานประกอบกิจการ" หมายความว่า หน่วยงานและ/หรือสถานที่ของนายจ้างที่มีพนักงานทำงานอยู่ในหน่วยงานและ/หรือสถานที่นั้นๆ

ข้อ 2 หลักความเท่าเทียม

เพื่อให้เกิดประสิทธิผลเป็นไปตามนโยบายฉบับนี้ นายจ้าง รวมถึง ผู้บังคับบัญชาและ/หรือหัวหน้างานจะปฏิบัติต่อพนักงานภายใต้บังคับบัญชาของตนโดยคำนึงถึงหลักความเท่าเทียม ดังต่อไปนี้ เป็นสำคัญ

(ก) พนักงานทุกคนย่อมเสมอกันในกฎหมายและในข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของนายจ้าง

(ข) พนักงานทุกคนย่อมมีสิทธิและเสรีภาพและได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายและตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของนายจ้างอย่างเท่าเทียมกัน

(ค) พนักงาน ไม่ว่าชายหรือหญิง ย่อมมีสิทธิเท่าเทียมกัน

(ง) นายจ้าง รวมถึง ผู้บังคับบัญชาและ/หรือหัวหน้างานจะปฏิบัติต่อพนักงานชายและหญิงโดยเท่าเทียมกันในการจ้างงาน เว้นแต่ ลักษณะหรือสภาพของงานไม่อาจปฏิบัติเช่นนั้นได้

(จ) นายจ้างจะกำหนดอัตราค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด ค่าล่วงเวลาในวันหยุด และสิทธิประโยชน์อื่นใดให้แก่พนักงาน โดยคำนึงถึงหลักความเท่าเทียมเป็นสำคัญ โดยที่ นายจ้างจะกำหนดอัตราค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด ค่าล่วงเวลาในวันหยุด และสิทธิประโยชน์อื่นใดให้แก่พนักงานที่ทำงานอันมีลักษณะ คุณภาพ และปริมาณเท่ากัน หรืองานที่มีค่าเท่าเทียมกันในอัตราเท่ากันไม่ว่าพนักงานนั้นจะเป็นชายหรือหญิงก็ตาม

ข้อ 3 เสรีภาพในการรวมกลุ่ม

พนักงานทุกคนย่อมมีเสรีภาพในการรวมกันเป็นสหภาพแรงงานตามกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ ทั้งนี้ตราบเท่าที่ไม่ขัดต่อกฎหมายดังกล่าว

เพื่อให้เกิดประสิทธิผลเป็นไปตามนโยบายฉบับนี้ นายจ้างจะปฏิบัติตามหน้าที่ของนายจ้างตามกฎหมายดังกล่าวเกี่ยวกับการรวมกันเป็นสหภาพแรงงานอย่างสิ้นเชิง อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การเข้าร่วมเจรจาข้อเรียกร้อง การร่วมประชุมหารือเกี่ยวกับสวัสดิการพนักงาน คำร้องทุกข์ของพนักงาน การระงับข้อขัดแย้งในสถานประกอบกิจการ

ข้อ 4 การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม

เพื่อให้เกิดประสิทธิผลเป็นไปตามนโยบายฉบับนี้ นายจ้าง ผู้บังคับบัญชาและ/หรือหัวหน้างาน รวมถึง พนักงานทุกคนจะไม่กระทำการและ/หรืองดเว้นการกระทำการใดๆ อันเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อพนักงานคนใดคนหนึ่ง ไม่ว่าด้วยเหตุเพราะความแตกต่างในเรื่อง ดังต่อไปนี้

(ก) ลักษณะการจ้างงาน
(ข) ถิ่นกำเนิด
(ค) เชื้อชาติ
(ง) เผ่าพันธุ์
(จ) สัญชาติ
(ฉ) ภาษา
(ช) สีผิว
(ซ) เพศ
(ฌ) เพศวิถี
(ญ) อัตลักษณ์ทางเพศ
(ฎ) อายุ
(ฏ) สถานภาพสมรส
(ฐ) ความพิการ
(ฑ) สภาพทางกายหรือสุขภาพ
(ฒ) สภาวะทางพันธุกรรม
(ณ) สถานะของบุคคล
(ด) ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม
(ต) ความเชื่อทางศาสนา ลัทธิ ปรัชญา
(ถ) การศึกษาอบรม
(ท) ความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ หรือ
(ธ) เหตุอื่นใด

อนึ่ง การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมในวรรคก่อน ให้หมายความรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การกระทำการและ/หรืองดเว้นการกระทำการใดๆ อันเป็นการเลือกปฏิบัติต่อพนักงานคนใดคนหนึ่งด้วยเหตุเพียงเพราะความแตกต่างในเรื่องพื้นฐานส่วนตัวของบุคคลนั้นๆ ซึ่งไม่เกี่ยวกับสาระสำคัญในการทำงาน เช่น พนักงานเพศหญิงที่มีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญเท่าๆ กันได้รับค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ที่ต่ำกว่าพนักงานเพศชายในตำแหน่งและหน้าที่ความรับผิดชอบเดียวกัน พนักงานไม่ได้รับการพิจารณาปรับตำแหน่งเพียงเพราะอัตลักษณ์ทางเพศ/ความคิดเห็นทางการเมือง การปฏิเสธการรับเข้าทำงานหรือเลิกจ้างพนักงานเพียงเพราะชาติกำเนิด

ทั้งนี้ ให้กรณีที่กำหนดดังต่อไปนี้ ย่อมไม่ถือว่าเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม

(ก) ข้อตกลงในสัญญาจ้างระหว่างนายจ้างกับพนักงานที่แตกต่างกันเนื่องจากความรู้ ความสามารถ ความชำนาญการ ความเชี่ยวชาญเฉพาะบุคคลของพนักงานแต่ละราย

(ข) ข้อตกลงในสัญญาจ้างระหว่างนายจ้างกับพนักงาน ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน ระเบียบ หรือคำสั่งของนายจ้างที่บังคับใช้กับพนักงานกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเป็นการเฉพาะที่เป็นธรรมและพอสมควรแก่กรณี

(ค) มาตรการที่นายจ้างกำหนดขึ้นซึ่งบังคับใช้กับพนักงานกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเพื่อขจัดอุปสรรคหรือส่งเสริมให้พนักงานสามารถใช้สิทธิหรือเสรีภาพได้เช่นเดียวกับบุคคลอื่น

(ง) มาตรการที่นายจ้างกำหนดขึ้นซึ่งบังคับใช้กับพนักงานกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเพื่อคุ้มครองหรืออำนวยความสะดวกให้แก่เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ หรือผู้ด้อยโอกาส

ข้อ 5 การล่วงละเมิดและ/หรือคุกคามทางเพศ

เพื่อให้เกิดประสิทธิผลเป็นไปตามนโยบายฉบับนี้ นายจ้าง ผู้บังคับบัญชาและ/หรือหัวหน้างาน รวมถึง พนักงานทุกคน จะไม่กระทำการและ/หรืองดเว้นการกระทำการใดๆ อันเป็นการกระทำการล่วงเกิน คุกคาม หรือก่อความเดือดร้อนรำคาญทางเพศต่อพนักงานคนใดคนหนึ่ง

อนึ่ง การล่วงละเมิดและ/หรือคุกคามทางเพศในวรรคก่อน ให้หมายความรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การจ้องมองร่างกายที่ส่อไปในทางเพศ การวิพากษ์วิจารณ์รูปร่าง ทรวดทรง และการแต่งกายที่ส่อไปทางเพศซึ่งผู้ถูกกระทำไม่พึงประสงค์ การพูดเรื่องตลกเกี่ยวกับเพศ การพูดจาแทะโลม การโทรศัพท์ลามก การจับกลุ่มวิจารณ์พฤติกรรมทางเพศของบุคคลในที่ทำงาน การสัมผัสร่างกายของผู้อื่นอย่างมีนัยทางเพศ การแสดงพฤติกรรมที่สื่อไปในทางเพศโดยใช้มือหรือการเคลื่อนไหวร่างกาย การกระทำทางเพศเพื่อแลกเปลี่ยนผลประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งในการทำงานและ/หรือการจ้างงาน การข่มขู่บังคับทางเพศ การกระทำและ/หรือพฤติกรรมใดๆ อันเป็นการบังคับ ก่อความเดือดร้อนรำคาญ อึดอัด อับอาย หรือทำให้รู้สึกถูกเหยียดหยามในทางเพศ

ข้อ 6 การแจ้งข้อร้องเรียน

ในกรณีที่พนักงานต้องการแจ้งข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการกระทำการและ/หรืองดเว้นการกระทำการใดๆ อันเป็นการขัดต่อนโยบายฉบับนี้ อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม การล่วงละเมิดและ/หรือคุกคามทางเพศ ให้พนักงานแจ้งข้อร้องเรียนดังกล่าวนั้นผ่านช่องทาง ดังต่อไปนี้

________

อนึ่ง การแจ้งข้อร้องเรียนในวรรคก่อนอาจดำเนินการโดยพนักงานที่ไม่ประสงค์ออกนามก็ได้ ในกรณีเช่นนี้ ผู้แจ้งจะต้องนำส่งหลักฐานอันควรเชื่อได้ว่ามีการกระทำการและ/หรืองดเว้นการกระทำที่ร้องเรียนดังกล่าวประกอบการแจ้งข้อร้องเรียนนั้นด้วย

ข้อ 7 มาตรการส่งเสริมและสนับสนุน

เพื่อให้เกิดประสิทธิผลเป็นไปตามนโยบายฉบับนี้ นายจ้างจะจัดให้มีมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนความเท่าเทียมภายในสถานประกอบกิจการ ดังต่อไปนี้

________

ข้อ 8 5885222582282222858858

58852225822822228588588522288225522828825828 588522258228222285885885222882255228288258288585282582525885582888888888888888888888888 58852225822

(ก) 58852225822822

5885222582282222858858852228822552282882582885852825825258 58852225822822228588588522288 5885222582282222858858852 58852225822822228588588522288 588522258228222285885885222882255 5885222582282222858858852228822 58852225822

(1) 58852225822822228588588522288225522828825828858528258252588558288888888 588522258228222285885885222882255228288258 58852225822822228588588522288225522828825828

(2) การสนับสนุนให้พนักงานทุกคนปฏิบัติตามนโยบายฉบับนี้

(3) การกำหนดโทษและผลกระทบที่ชัดเจนต่อพนักงาน ในกรณีที่พนักงานปฏิบัติฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้

(ข) มาตรการแก้ไข

เมื่อนายจ้างพบการกระทำการและ/หรืองดเว้นการกระทำการใดๆ อันเป็นการขัดต่อนโยบายฉบับนี้ หรือเมื่อนายจ้างได้รับแจ้งข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการกระทำการและ/หรืองดเว้นการกระทำการใดๆ อันเป็นการขัดต่อนโยบายฉบับนี้ อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม การล่วงละเมิดและ/หรือคุกคามทางเพศ นายจ้างจะดำเนินการมาตรการแก้ไข ดังต่อไปนี้

(1) การจัดให้มีกระกวนการตรวจสอบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการกระทำฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้ อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การจัดให้มีคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม การจัดให้มีคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีการล่วงละเมิดและ/หรือคุกคามทางเพศ

(2) การสั่งให้พนักงานยุติการกระทำอันเป็นการปฏิบัติฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้ อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม การล่วงละเมิดและ/หรือคุกคามทางเพศ

(3) การสั่งให้พนักงานแสดงความรับผิดชอบและแสดงความเสียใจต่อการกระทำของตนซึ่งฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้

(4) การลงโทษพนักงานซึ่งฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้ตามสมควรแก่กรณีแห่งความร้ายแรงและ/หรือความเสียหาย อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง การตักเตือนเป็นหนังสือ การลงโทษทางวินัย การเลิกจ้าง

(5) การเรียกร้องค่าเสียหายทั้งปวงจากพนักงานซึ่งฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้ ในกรณีที่การปฏิบัติฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้ได้ก่อให้เกิดความเสียหายแก่นายจ้าง

(6) การเรียกร้องค่าชดเชยใดๆ จากพนักงานซึ่งฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้ ในกรณีที่มีบุคคลภายนอก กล่าวอ้างสิทธิ เรียกร้องค่าเสียหาย ค่าชดเชยใดๆ กับนายจ้าง อันเกิดจากและเกี่ยวกับการปฏิบัติฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้ ซึ่งนายจ้างได้ชำระค่าเสียหายหรือค่าชดเชยให้แก่บุคคลนั้นไปตามคำพิพากษาของศาลหรือได้ชำระตามคำสั่งอื่นใด โดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว (ถ้ามี)

(7) การดำเนินการทางกฎหมายกับพนักงานซึ่งกระทำการและ/หรืองดเว้นการกระทำการอันฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้ ในกรณีที่การกระทำการและ/หรืองดเว้นการกระทำการนั้นถือเป็นความผิดตามกฎหมาย อันรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ ประมวลกฎหมายอาญา

อนึ่ง ให้ นโยบายฉบับนี้ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ________ ไปจนกว่าจะมีนโยบายเป็นอย่างอื่น

จึงเรียนมาเพื่อทราบ

ประกาศ ณ วันที่ ________



ลงชื่อ_______________________ผู้ออกนโยบาย
________
________